สำนักงานที่ปรึกษากฎหมายและวิศวกรรม รังสรรค์ วงษ์บุญ
Office of Law and Engineering Consultants
วิธีการวัดปริมาณงานก่อสร้างอาคาร
ตามมาตรฐาน วสท (E.I.T. Standard 1012 - 40 , ISBN 974 -
90756 -3 - 3)
และ
ตัวอย่างการประมาณราคางานทางด้านวิศวกรรมโยธาเบื้องต้นสำหรับบ้านพักอาศัย 2 ชั้น
|
n
n
n
วิธีการประมาณราคาอย่างหยาบ ใช้เวลาน้อย ใช้คนน้อย เสียเงินน้อย ให้ความละเอียดถูกต้องน้อย มีหลายวิธี เช่น
วิธีการประมาณราคาอย่างละเอียด
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2. |
องค์ประกอบของราคางานก่อสร้าง
มีอยู่ 5 ส่วน
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
3. |
ชนิดของปริมาณวัสดุที่ปรากฏในการประมาณราคา มี 2 แบบ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
4. |
ข้อสังเกตเบื้องต้น
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
5. |
จะรู้ราคาวัสดุและค่าแรงเบื้องต้นจากที่ใด
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
6. |
สาเหตุที่ทำให้ราคาวัสดุแพงกว่าธรรมดา
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
7. |
ข้อสังเกตเกี่ยวกับค่าแรง
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
8. |
ประเภทของแบบที่ใช้ในงานก่อสร้างโดยทั่วไป
มี 3 แบบ คือ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
9. |
ตัวอย่างการหาราคาต่อหน่วยโดยอาศัยข้อมูลจากสถิติประสิทธิภาพการทำงาน เช่น
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
10. |
ไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้าง
ไม้แปรรูป
ข้อสังเกตเกี่ยวกับไม้
ไม้ปาร์เก้
ไม้โมเสคปาร์เก้
การประมาณราคาพื้นไม้
การประมาณราคาไม้แบบ
ไม้ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของแบบ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
11. |
การประมาณราคางานคอนกรีต Strength of Concrete ขึ้นอยู่กับ
การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต
คอนกรีตผสมเสร็จ Ready mix concrete
Portland Cement มาตรฐานอุตสาหกรรม มอก. 15
Portland Cement & Silica Cement
Fine Aggregate
Course Aggregate
การคิดราคางานคอนกรีต
ปริมาณวัสดุของงานปูนที่ใช้บ่อยโดยประมาณ ( วินิจ / วิสุทธิ์ ช่อวิเชียร )
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
12. |
เหล็กเสริมคอนกรีต
ลวดผูกเหล็ก
การประมาณราคาเหล็กเสริม
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
13 |
แบบหล่อคอนกรีตที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป
การคิดปริมาณไม้แบบ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
14. |
การประมาณราคางานตอกเข็ม
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
15. |
ผนัง หรือ วัสดุก่อ
ผนังอิฐบล็อกขนาด 0.07 x 0.19 x 0.39
ปูนซีเมนต์ 1 ถุง หนัง 50 กก. มีปริมาตร 0.038 ลบ.ม. |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
16 |
วัสดุมุงหลังคา
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
17 |
สีทาอาคารชนิดสีน้ำ
สีน้ำมัน
แลคเกอร์ วานิช
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
18. |
การประมาณราคาฝ้าเพดาน
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
19. |
แผ่นปูพื้นซีเมนต์ของ CPAC
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
20. |
วิธีการวัดปริมาณงานตามมาตรฐาน วสท และ
ตัวอย่างการคำนวณ
ตามมาตรฐาน วสท (E.I.T.
Standard 1012 - 40 , ISBN 974 - 90756 -3 - 3)
งานขุดดินที่ต้องใช้เข็มพืดเหล็ก | ||||
|
|
ปริมาณงานขุดดิน
=
ความลึกตามแบบ x
พื้นที่ภายในของแนวตอกเข็มพืดเหล็ก ปริมาณงานเข็มพืดเหล็ก = ความลึกตามแบบ x ความยาวตามแนวที่ตอกเข็มพืดเหล็ก แม้ว่าเข็มพืดจะมีระยะที่จมลงไปในดินลึกกว่าระดับความลึกที่กำหนดไว้ในแบบ แต่การคิดราคางานขุดดินและงานเข็มพืดเหล็กจะคิดความลึกตามแบบเท่านั้น |
งานกำแพงเข็มพืดคอนกรีต | ||||
|
|
|
|
คิดความยาวตามแนวศูนย์กลางตามระยะของเข็มพืด การตัดหัวเข็มจะคิดเป็นความยาวสุทธิตามแนวศูนย์กลางตามระยะของเข็มพืด |
งานขุดร่องดินเพื่อวางท่อ 1 แนว | ||||
|
ให้รวมงานขุดดินอยู่ในงานวางท่อ
ไม่ต้องแยกคิดปริมาณงานดินต่างหาก แต่ถ้าวางท่อ 2 แนวในร่องคูเดียวกัน จะต้องแยกคิดปริมาณงานดินออกมาต่างหาก |
งานตกแต่งพื้นผิวที่มีความลาดชัน ≥ 1 : 10 | ||||
|
พื้นผิวที่มีความลาดชัน ≥ 1
: 10 เช่น 1 : 5
หรือ 1 : 8 ต้องวัดระยะตามความลาดเอียง
ไม่ถือว่าเป็นพื้นราบ พื้นผิวที่มีความลาดชัน ≤ 1 : 10 เช่น 1 : 15 หรือ 1 : 18 ถือว่าเป็นพื้นราบ |
ค่ารื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ | ||||
|
ค่าเตรียมพื้นที่ | ||||
|
||||
ค่าวัสดุถมที่ | ||||
|
||||
ค่าถมดินหรือทรายเพื่อปรับระดับ | ||||
|
||||
งานถมและงานกลบแต่ง | ||||
|
||||
จะวัดเป็นปริมาณสุทธิหลังจากบดอัดแล้ว ดินเหนียว 1 ลบ.ม. ตามสภาพเดิมตามธรรมชาติ เมื่อถูกขุดขึ้นมาจะมีปริมาตรเพิ่มขึ้นประมาณ ทราย 1 ลบ.ม. ตามสภาพเดิมตามธรรมชาติ เมื่อถูกขุดขึ้นมาจะมีปริมาตรเพิ่มขึ้นประมาณ |
งานเสาเข็มเจาะ | ||||
|
||||
ความลึกของเสาเข็มวัดจากผิวดิน ถึง
ปลายเสาเข็ม การขยายปลายเสาเข็มจะวัดเป็นจำนวน เช่น 2 จุด หรือ 2 หลุม |
งานตอกเข็ม | ||||
|
|
|||
ความลึกของเสาเข็มวัดจากผิวดิน ถึง
ปลายเสาเข็ม การขยายปลายเสาเข็มจะวัดเป็นจำนวน เช่น 2 จุด หรือ 2 หลุม |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงาน | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ตอกเข็มไม้ Ø 6'' x 6 m จำนวน 9 ฐาน ๆ ละ 9 ต้น | 81 | 10 % | 90 | ต้น | 187.30 | 158.00 | 345.30 | 31077.00 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานขุดดินฐานราก | ||||
|
|
|||
ปริมาณงานขุดดิน
= [ ความกว้างของ pile cap x ความยาวของ pile cap x ความลึกจากระดับผิวดินถึงระดับหลังคอนกรีตรองพื้น ] x 1.30 |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
2 | ปริมาตรดินขุด | ||||||||
=[1.00 x 1.00 x 1.50] x 1.3 x 9 หลุม | 17.55 | - | 17.55 | ลบ.ม. | - | 76 | 76 | 1333.80 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานตัดหัวเสาเข็ม | ||||
|
|
|||
ค่าแรง = 300 บาท / ต้น ต้องตกลงกันว่าขอบเขตงานแค่ไหน เครื่องมือของใคร ต้องขนออกไปด้วยหรือไม่ หรือ แค่ตัดขาดเพียงอย่างเดียว ไม่ต้องทำความสะอาด |
งานคอนกรีตรองพื้นหลุมฐานราก | ||||
|
||||
ปริมาตรคอนกรีตรองพื้น
และ ปริมาตรทรายรองพื้น
= พื้นที่
pile cap x ความหนาคอนกรีตรองพื้น หรือ
ความหนาของทรายรองพื้น ตามแบบ คอนกรีต 1 ลบ.ม. ใช้ Cement 240 กก. ทรายหยาบ 0.52 ลบ.ม. หิน 0.85 ลบ.ม. |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | วัสดุรองก้นหลุม | ||||||||
1.1 | ทรายหยาบอัดแน่น | ||||||||
=[1.00 x 1.00 x 0.10] x 9 หลุม | 0.90 | 5 % | 0.945 | ลบ.ม. | 287.50 | 46.00 | 333.50 | 315.16 | |
1.2 | คอนกรีตหยาบรองก้นหลุม | ||||||||
=[1.00 x 1.00 x 0.05] x 9 หลุม | 0.45 | 5 % | 0.473 | ลบ.ม. | 1070 | 342 | 1412 | 667.88 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานเหล็กเสริมฐานราก | ||||
|
|
|
||
เหล็กเสริมหลักตามยาว
= คิดเท่ากับความยาวของ
pile cap เหล็กเสริมหลักตามขวาง = คิดเท่ากับความกว้างของ pile cap ความยาวเหล็กเสริมหลัก ตามยาว และ ตามขวาง ที่ต้องงอขึ้นหลังฐานราก = ความยาว หรือ ความกว้าง ของ pile cap + 2 เท่าของความหนาของ pile cap หรือ 2 เท่าของความยาวเหล็กที่งอขึ้น
เหล็กรัดรอบฐานราก =
ความยาวเส้นรอบรูป
pile cap ตามผิวคอนกรีต |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ความยาวเหล็กตะแกรงแต่ละท่อน RB15 SR24 | ||||||||
1.1 | ความยาวเหล็กตะแกรงทางด้านกว้าง | ||||||||
= [2 x 0.25 + 1.10 ] = 1.6 m | |||||||||
1.2 | จำนวนท่อนทางด้านกว้าง | ||||||||
= [1 +(1.10 / 0.10)] = 12 ท่อน | |||||||||
1.3 | ความยาวเหล็กตะแกรงทางด้านยาว | ||||||||
= [2 x 0.25 + 1.10 ] = 1.6 m | |||||||||
1.4 | จำนวนท่อนทางด้านยาว | ||||||||
= [1 +(1.10 / 0.10)] = 12 ท่อน | |||||||||
2 | เหล็กรัดรอบ RB15 SR24 | ||||||||
= 2[กว้าง + ยาว] = 4.40 เมตร | |||||||||
3 | ความยาวเหล็กทั้งหมดต่อ 1 pile cap | ||||||||
= [1.6 x 12] + [ 1.6 x 12 ] + 4.40 = 42.8 m | |||||||||
4 | คิดเป็นน้ำหนักเหล็ก ( 1.387 kg / m ) | ||||||||
= 42.80 x 1.387 = 59.364 กก | 0.059 | 5 % | 0.062 | ตัน | 21120 | 2638 | 23758.00 | 1473.00 | |
5 | ลวดผูกเหล็ก 16 กก. / เหล็ก 1 ตัน | 0.944 | 5 % | 0.991 | กก. | 31.33 | - | 31.33 | 31.048 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานแบบหล่อฐานราก | ||||
|
![]() |
![]() |
||
พื้นที่แบบหล่อ หรือ
contact area = เส้นรอบรูปของ
pile cap x ความหนาของ pile cap
ผนังอิฐบล็อกขนาด
0.07
x
0.19
x
0.39 ในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ใช้ 11.614 ก้อนไม่เผื่อเสียหาย ปูนซีเมนต์ 1 ถุง หนัง 50 กก. มีปริมาตร 0.038 ลบ.ม. การประมาณราคาไม้แบบ
ไม้ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของแบบ
|
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ค่าแบบหล่อฐานรากโดยใช้คอนกรีตบล็อก | ||||||||
ขนาด 0.07 x 0.19 x 0.39 ปูนก่อหนา 2 ซม. | |||||||||
1.1 | พื้นที่แบบหล่อ = 2 [ กว้าง + ยาว ] x หนา x 9 ฐาน | ||||||||
= 2 [ 1 + 1 ] x 0.25 x 9 = 9 ตารางเมตร | 9 | 5 % | 9.45 | ตารางเมตร | 106 | 44 | 150 | 1417.50 | |
1.2 | จำนวนคอนกรีตบล็อกด้านยาว | ||||||||
= [ 100 cm / ( 39 + 2 cm ] = 2.44 ก้อน | |||||||||
1.3 | จำนวนคอนกรีตบล็อกด้านตั้ง | ||||||||
= [ 100 cm / ( 19 + 2 cm ] = 4.76 ก้อน | |||||||||
1.4 | จำนวนคอนกรีตบล็อกต่อตารางเมตร | ||||||||
= 2.44 x 4.76 = 11.61 ก้อน | |||||||||
1.5 | จำนวนคอนกรีตบล็อกทั้งหมด | ||||||||
= 9 x 11.61 = 104.49 ก้อน | 104.49 | 5 % | 109.71 | ก้อน | |||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานคอนกรีตฐานราก | ||||
|
|
|
|
![]() |
ปริมาตรคอนกรีต
= พื้นที่
pile cap
x ความหนา
คอนกรีตโครงสร้าง 1 : 2 : 4 ปริมาตร 1 ลบ.ม. ใช้ cement 320 กก. ทราย 0.45 ลบ.ม. ใช้หิน 0.90 ลบ.ม. |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาตรคอนกรีต | ||||||||
= [1.00 x 1.00] x 0.25 x 9 ฐาน | 2.25 | 5 % | 2.36 | ลบ.ม. | 1347 | 403 | 1750 | 4130 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานเหล็กเสริมตอม่อ | ||||
|
|
|
||
ความยาวของเหล็กเสริมตอม่อ =
ความลึก หรือ ความหนา ของ pile cap + ความยาวตอม่อวัดจากหลัง
pile cap ถึงหลังพื้นชั้นแรก ปริมาณเหล็กเสริมทั้งหมดรวมทั้งเหล็กยืน และ เหล็กปลอก |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | เหล็กยืน RB12 SR24 ( 0.89 กก./ เมตร) | ||||||||
= 1.75 ม. x 6 เส้น x 0.89 x 9 ฐาน = 84.105 กก | 0.084 | 5 % | 0.088 | ตัน | 21310 | 2638 | 23948 | 2107.42 | |
2 | เหล็กปลอก RB6 SR24 ( 0.22 กก./ เมตร) | ||||||||
2.1 | ความยาว = เส้นรอบรูปเสา = 0.80 m | ||||||||
2.2 | จำนวนปลอก = [ 1 + ( ความยาว / spacing )] | ||||||||
=[ 1 + ( 1.75 / 0.10 )] = 20 ปลอก | |||||||||
2.3 | น้ำหนัก = 0.80 x 20 x 0.22 x 9 ฐาน = 31.68 kg | 0.032 | 5 % | 0.034 | ตัน | 22750 | 2743 | 25493 | 866.76 |
3 | ลวดผูกเหล็ก 16 กก. ต่อ เหล็กเสริม 1 ตัน | 1.856 | 5 % | 1.949 | กก | 31.33 | - | 31.33 | 61.06 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานคอนกรีตเสาตอม่อ | ||||
|
|
|||
ปริมาตรคอนกรีต =
พื้นที่หน้าตัดเสาตอม่อ x ความยาววัดจากหลัง
pile cap ถึงระดับพื้นชั้นถัดไป คอนกรีตโครงสร้าง 1 : 2 : 4 ปริมาตร 1 ลบ.ม. ใช้ cement 320 กก. ทราย 0.45 ลบ.ม. ใช้หิน 0.90 ลบ.ม. |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาตรคอนกรีต | ||||||||
= [1.00 x 1.00] x 0.25 x 9 ฐาน | 2.25 | 5 % | 2.36 | ลบ.ม. | 1347 | 403 | 1750 | 4130 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานคอนกรีตคาน | ||||
|
|
|||
ปริมาตรคอนกรีต =
พื้นที่หน้าตัด x ความยาวของคาน
= โดยไม่ต้องหักวัสดุฝังถ้ามีพื้นที่หน้าตัด ≤ 0.01 ตารางเมตร
ความยาวคาน คิดระหว่างขอบเสา ถึง ขอบเสา ของเสา 2
ต้นที่อยู่ระหว่างช่วงคานนั้น
คอนกรีตโครงสร้าง 1 : 2 : 4 ปริมาตร 1 ลบ.ม. ใช้ cement 320 กก. ทราย 0.45 ลบ.ม. ใช้หิน 0.90 ลบ.ม. |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาตรคอนกรีต | ||||||||
= [0.20 x 0.40] x 3.5 | 0.280 | 5 % | 0.294 | ลบ.ม. | 1347 | 403 | 1750 | 514.50 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานแบบหล่อคาน | ||||
|
![]() |
![]() |
||
พื้นที่แบบหล่อ =
พื้นที่ที่สัมผัสกับคอนกรีต =
[2 เท่าของความลึกคาน + 1 เท่าของความกว้าง] x
ความยาว
= โดยไม่ต้องหักวัสดุฝังถ้ามีพื้นที่หน้าตัด
≤ 0.01 ตารางเมตร งานแบบหล่อสำหรับคานรอง
( secondary beam )
ต้องวัดความยาวไปจนถึงด้านข้างของคานเอก ( main beam )
โดยไม่ต้องหักพื้นที่ของงานแบบหล่อ และไม่มีการหักพื้นที่ของงานแบบหล่อของเสาที่คานหลักตัดผ่าน การประมาณราคาไม้แบบ
ไม้ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของแบบ
|
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาณไม้แบบ = contact area | ||||||||
= [ 2 เท่าความลึก + 1 เท่าของความกว้าง] x ยาว | |||||||||
= [( 2 x 0.40) + 0.20 ] x 3.5 = 3.5 ตารางเมตร | 3.5 | 5 % | 3.675 | ตารางเมตร | - | 99 | 99 | 363.83 | |
2 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ไม้ 0.25 ลบ.ฟ. (ใช้ 3 ครั้ง) | ||||||||
ใช้ไม้แบบทั้งหมด = 3.5 x 0.25 | 0.875 | 5 % | 0.919 | ลบ.ฟ. | 405 | - | 405 | 372.20 | |
3 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ตะปู 0.25 กก. | 0.875 | 5 % | 0.919 | กก. | 25 | - | 25 | 22.98 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานเหล็กเสริมคาน และ เสา | ||||
|
|
|||
ความยาวของเหล็กเสริมคานช่วงใน
ให้คิดระหว่างศูนย์กลางเสา 2 ต้นที่อยู่ติดกัน ยกเว้นคานช่วงสุดท้ายที่ต้องคิดความยาวระหว่างศูนย์กลางเสา ถึง ขอบริมสุดของคาน สำหรับเหล็กเสริมพิเศษ ให้คิดความยาวตามแบบ |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | main bars RB15 SR24 ( 1.39 กก./ เมตร) | ||||||||
= 3.50 ม. x 5 เส้น x 1.39 = 24.325 กก | 0.024 | 5 % | 0.025 | ตัน | 21120 | 2743 | 23863 | 596.575 | |
2 | เหล็กปลอก RB6 SR24 ( 0.22 กก./ เมตร) | ||||||||
2.1 | ความยาว = เส้นรอบรูปคาน | ||||||||
= [0.20 x 2 ] + [0.40 x 2 ] = 1.20 m | |||||||||
2.2 | จำนวนปลอก = [ 1 + ( ความยาว / spacing )] | ||||||||
=[ 1 + ( 3.5 / 0.20 )] = 19 ปลอก | |||||||||
2.3 | น้ำหนัก = 1.20 x 19 x 0.22 = 5.016 kg | 0.005 | 5 % | 0.006 | ตัน | 22750 | 2743 | 25493 | 152.96 |
3 | ลวดผูกเหล็ก 16 กก. ต่อ เหล็กเสริม 1 ตัน | 0.464 | 5 % | 0.487 | กก | 31.33 | - | 31.33 | 15.26 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานเหล็กปลอกในคาน และ เสา | ||||
|
![]() |
![]() |
![]() |
|
ความยาวของเหล็กปลอก =
2 เท่าของความกว้างคาน หรือ เสา + 2 เท่าของความลึกคานหรือเสา
จำนวนเหล็กปลอกของคาน ความยาวของเหล็กเสริมหลักในคาน
ให้คิดระหว่างหน้าเสา 2 ต้นที่อยู่ติดกัน |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | main bars RB15 SR24 ( 1.39 กก./ เมตร) | ||||||||
= 3.50 ม. x 5 เส้น x 1.39 = 24.325 กก | 0.024 | 5 % | 0.025 | ตัน | 21120 | 2743 | 23863 | 596.575 | |
2 | เหล็กปลอก RB6 SR24 ( 0.22 กก./ เมตร) | ||||||||
2.1 | ความยาว = เส้นรอบรูปคาน | ||||||||
= [0.20 x 2 ] + [0.40 x 2 ] = 1.20 m | |||||||||
2.2 | จำนวนปลอก = [ 1 + ( ความยาว / spacing )] | ||||||||
=[ 1 + ( 3.5 / 0.20 )] = 19 ปลอก | |||||||||
2.3 | น้ำหนัก = 1.20 x 19 x 0.22 = 5.016 kg | 0.005 | 5 % | 0.006 | ตัน | 22750 | 2743 | 25493 | 152.96 |
3 | ลวดผูกเหล็ก 16 กก. ต่อ เหล็กเสริม 1 ตัน | 0.464 | 5 % | 0.487 | กก | 31.33 | - | 31.33 | 15.26 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานคอนกรีตเสา คสล | ||||
|
|
![]() |
||
ความสูงของเสาวัดจากส่วนบนสุดของฐานเสา
(column base) หรือ หลัง Pile
cap หรือ หลังพื้น ไปจนถึงระดับพื้นของชั้นถัดไป กรณีท้องพื้นมีแป้นหัวเสา ( drop panel ) ให้วัดความสูงจากหลังพื้นถึงระดับท้องแป้นหัวเสาเท่านั้น |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาตรคอนกรีต | ||||||||
= [0.40 x 0.40] x 3.0 | 0.480 | 5 % | 0.504 | ลบ.ม. | 1347 | 403 | 1750 | 882.00 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานคอนกรีตพื้น คสล ที่วางบนพื้น | ||||
|
|
|
||
ความกว้าง และ ความยาว
วัดระหว่างจุดศูนย์กลางของเสา ถึง จุดศูนย์กลางของเสา
ถ้าเป็นพื้นช่วงสุดท้าย ความกว้างและความยาววัดระหว่างจุดศูนย์กลางของเสาด้านใน ถึง ขอบเสาด้านนอก ปริมาตรคอนกรีต = ความหนา x ความกว้างของแผ่นพื้น x ความยาวของแผ่นพื้น |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ทรายรองพื้น หน้า 0.07 ม. บนพื้นที่ 3.5 x 3 ตร.ม | ||||||||
= 0.07 x 3.50 x 3.00 | 0.735 | 5 % | 0.772 | ลบ.ม. | 287.50 | 46 | 333.50 | 257.46 | |
2 | ปริมาตรคอนกรีตแผ่นพื้น | ||||||||
= 0.08 x 3.50 x 3.00 | 0.840 | 5 % | 0.882 | ลบ.ม. | 1347 | 403 | 1750 | 1543.50 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานแบบหล่อคอนกรีตพื้น | ||||
|
|
|
|
|
พื้นที่แบบหล่อ =
พื้นที่ที่สัมผัสกับคอนกรีต = กว้าง
x ยาว =
โดยไม่ต้องหักพื้นที่ช่องเปิดที่มีพื้นที่ ≤ 1.00 ตารางเมตร ไม่ต้องหักพื้นที่ของส่วนที่เสาหรือคานตัดผ่าน |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | พื้นที่ไม้แบบ = พื้นที่แผ่นพื้น = contact area | ||||||||
= 3.00 x 3.50 = 10.50 | 10.50 | ตารางเมตร | 99 | 99 | 1039.50 | ||||
2 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ไม้ 0.25 ลบ.ฟ. (ใช้ 3 ครั้ง) | ||||||||
ใช้ไม้แบบทั้งหมด = 10.50 x 0.25 | 2.625 | 5 % | 2.756 | ลบ.ฟ. | 405 | - | 405 | 1116.18 | |
3 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ตะปู 0.25 กก. | 2.625 | 5 % | 2.756 | กก. | 25 | - | 25 | 68.90 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานเหล็กเสริมพื้น ในระบบพื้น - คาน | ||||
|
||||
ความยาวของเหล็กเสริมพื้น
ให้คิดระหว่างศูนย์กลางคาน 2 ตัว ที่มีพื้นฝากอยู่ ยกเว้นพื้นช่วงสุดท้ายที่ต้องคิดความยาวระหว่างศูนย์กลางเสาหรือคาน ยาวจนถึง ขอบริมสุดของคาน |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | เหล็กตะแกรงด้านกว้าง RB6 SR24 ( 0.22 กก./ เมตร) |
||||||||
1.1 | จำนวนท่อน | ||||||||
= [ 1 + ( ความกว้าง / spacing )] | |||||||||
= [ 1 + ( 3 / 0.20 )] = 16 ท่อน | |||||||||
1.2 | ความยาวทั้งหมด = 16 x 3 = 48 m | 48 | เมตร | ||||||
2 | เหล็กตะแกรงด้านยาว RB6 SR24 ( 0.22 กก./ เมตร) |
||||||||
2.1 | จำนวนท่อน | ||||||||
= [ 1 + ( ความยาว / spacing )] | |||||||||
= [ 1 + ( 3.5 / 0.20 )] = 19 ท่อน | |||||||||
2.2 | ความยาวทั้งหมด = 19 x 3.5 = 66.50 m | 66.50 | เมตร | ||||||
3 | น้ำหนักเหล็ก | ||||||||
= [(48 + 66.50) x 0.22 = 25.19 kg | 0.025 | 5 % | 0.026 | ตัน | 22750 | 2743 | 25493 | 662.82 | |
4 | ลวดผูกเหล็ก 16 กก. ต่อ เหล็กเสริม 1 ตัน | 0.400 | 5 % | 0.420 | กก | 31.33 | - | 31.33 | 13.16 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานคอนกรีตพื้น คสล แผ่นพื้นไร้คานที่มีแป้นหัวเสา ( drop panel ) | ||||
|
||||
ความกว้าง และ ความยาว
วัดระหว่างจุดศูนย์กลางของเสา - จุดศูนย์กลางของเสา
ถ้าเป็นพื้นช่วงสุดท้าย ความกว้างและความยาววัดระหว่างจุดศูนย์กลางของเสาด้านใน - ขอบเสาด้านนอก ปริมาตรคอนกรีต = ความหนา x ความกว้างของแผ่นพื้น x ความยาวของแผ่นพื้น ต้องรวมปริมาตรของแป้นหัวเสาด้วย |
งานคอนกรีตกำแพง คสล | ||||
|
||||
ปริมาตรคอนกรีต = ความยาวของเส้นรอบรูป x ความหนา x ความสูง |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาตรคอนกรีต | ||||||||
= 20.00 x 0.20 x 3.0 | 12.000 | 5 % | 12.600 | ลบ.ม. | 1347 | 403 | 1750 | 22050 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานไม้แบบกำแพง คสล | ||||
|
||||
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาณไม้แบบ = contact area 2 ด้าน | ||||||||
= 2 x [ ความยาวเส้นรอบรูป x ความสูง ] | |||||||||
= 2 x [20 x 3] = 120 ตารางเมตร | 120 | - | 120 | ตารางเมตร | - | 99 | 99 | 11880 | |
2 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ไม้ 0.25 ลบ.ฟ. (ใช้ 3 ครั้ง) | ||||||||
ใช้ไม้แบบทั้งหมด = 120 x 0.25 | 30 | 5 % | 31.50 | ลบ.ฟ. | 405 | - | 405 | 12757.50 | |
3 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ตะปู 0.25 กก. | 30 | 5 % | 31.50 | กก. | 25 | - | 25 | 787.50 |
4 | อุปกรณ์ยึดแบบ 4 ตัว ต่อ ตารางเมตร | 480 | 5 % | 504 | ชุด | 25 | - | 25 | 12600 |
งานเหล็กเสริมกำแพงคอนกรีต | ||||
|
||||
ความยาวของเหล็กนอนทั้งด้านนอก และ
ด้านใน
= ความยาวตามเส้นรอบรูปภายนอกของกำแพง ความยาวของเหล็กตั้งทั้งด้านนอกและด้านใน = คิดเหมือนเหล็กเสริมหลักของเสา |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | เหล็กนอน | ||||||||
1.1 | ความยาว main bars RB15 SR24 ( 1.39 กก./ เมตร) | ||||||||
= ความยาวของเส้นรอบรูป = 20 m | 0.024 | ||||||||
1.2 | จำนวนเหล็กนอน 2 ด้าน | ||||||||
= 2 x [ 1 + ( ความสูง / spacing )] | |||||||||
= 2 x [ 1 + ( 3 / 0.15 )] = 42 ท่อน | |||||||||
1.3 | น้ำหนัก = 42 x 20 x 1.39 = 1167.60 kg | 1.168 | ตัน | ||||||
2 | เหล็กยืน | ||||||||
2.1 | ความยาว main bars RB15 SR24 ( 1.39 กก./ เมตร) | ||||||||
= ความสูงของผนัง = 3 m | |||||||||
2.2 | จำนวนเหล็กยืน 2 ด้าน ไม่ต้องรวมตัวแรกเพราะครบรอบ | ||||||||
= 2 x [( ความยาว / spacing )] | |||||||||
= 2 x [ 20 / 0.20 )] = 200 ท่อน | |||||||||
2.3 | น้ำหนัก = 200 x 3 x 1.39 = 834 kg | 0.834 | ตัน | ||||||
3 | น้ำหนักเหล็กทั้งหมด = 1.168 + 0.834 = 2.002 | 2.002 | 5 % | 2.102 | ตัน | 21120 | 2743 | 23863 | 50160.03 |
4 | ลวดผูกเหล็ก 16 กก. ต่อ เหล็กเสริม 1 ตัน | 32.032 | 5 % | 33.634 | กก | 31.33 | - | 31.33 | 1053.75 |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานเหล็กเสริม งานคอนกรีต และ งานไม้แบบ บันได | ||||
![]() |
![]() |
![]() |
||
ความยาวของเหล็กเสริมหลักตามขวาง
และ เหล็กเสริมมุม = ความกว้างของบันได ความยาวของเหล็กเสริมหลักตามยาว = ความยาวที่วัดตามความลาดเอียงระหว่างจุดศูนย์กลางของที่รองรับ - ที่รองรับ ความยาวของเหล็กดัดตามรูปลูกขึ้นบันได = ความยาวตามลูกผิวขั้นบันได เหล็กเสริมพื้นชานพักบันได คิดเหมือนเหล็กเสริมพื้นทั่วไป |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | กรณีบันไดท้องเรียบ (ชานพักบันไดคิดเหมือนพื้น) | ||||||||
1.1 | ปริมาตรคอนกรีตแม่บันได 1 ช่วง | ||||||||
= หนา x กว้าง x ยาวตามลาดเอียง | |||||||||
= 0.12 x 1.20 x 3.626 = 0.522 | 0.522 | ||||||||
1.2 | ปริมาตรคอนกรีตขั้นบันได 1 ขั้น | ||||||||
= พื้นที่หน้าตัด x ความกว้างของบันได | |||||||||
= 0.5 x ความยาวลูกนอน x ความยาวลูกตั้ง x กว้าง | |||||||||
= [0.5 x 0.225 x 0.20] x 1.20 x 9 ขั้น | 0.243 | ||||||||
1.3 | รวมปริมาตรคอนกรีต | 0.765 | 5 % | 0.803 | ลบ.ม. | 1347 | 403 | 1750 | 1405.25 |
1.4 | พื้นที่ไม้แบบ = contact area | ||||||||
= พื้นที่ท้องบันได + พื้นที่ข้างบันได | |||||||||
= [3.626 x 1.20] + [0.12 x 3.626 x 2 ด้าน] | 5.221 | 5 % | 5.482 | ตารางเมตร | - | 99 | 99 | 542.718 | |
1.5 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ไม้ 0.25 ลบ.ฟ. (ใช้ 3 ครั้ง) | ||||||||
ใช้ไม้แบบทั้งหมด = 5.221 x 0.25 | 1.305 | 5 % | 1.370 | ลบ.ฟ. | 405 | - | 405 | 554.85 | |
1.6 | แบบ 1 ตารางเมตร ใช้ตะปู 0.25 กก. | 1.305 | 5 % | 1.370 | กก. | 25 | - | 25 | 34.25 |
2 | กรณีบันไดพับผ้า สามารถใช้วิธีเดียวกับบันไดท้องเรียบได้ | ||||||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานก่อผนัง - กำแพง ตรง | ||||
|
|
|
||
พื้นที่ผนัง กำแพง
= (กว้าง x ยาว) -
ช่องเปิดที่มีพื้นที่ ≥ 0.01 ตารางเมตร ไม่ต้องหักช่องเปิด หรือ วัสดุอื่นใดที่ฝังในกำแพง ที่มีพื้นที่ ≤ 0.01 ตารางเมตร , รอยต่อ ร่อง คิ้ว ธรณีประตู ทับหลัง เสาเอ็น ในกรณีเป็นกำแพงโค้ง ต้องวัดความยาวตามโค้ง ผนัง หรือ วัสดุก่อ
ผนังอิฐบล็อกขนาด 0.07 x 0.19 x 0.39
ปูนซีเมนต์ 1 ถุง หนัง 50 กก. มีปริมาตร 0.038 ลบ.ม. |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | พื้นที่ผนัง | ||||||||
= ความยาว x ความสูง | |||||||||
ความยาว คิดระหว่างขอบเสาถึงขอบเสา | |||||||||
ความสูง คิดจากหลังคานถึงท้องคาน | |||||||||
พื้นที่ = 3.30 x 2.20 | 7.26 | 5 % | 7.623 | ตารางเมตร | 151 | 59 | 210 | 1600.83 | |
2 | จำนวนอิฐมอญต่อ 1 ตารางเมตร | ||||||||
ขนาด 3.5 × 7 × 17.5 ซม. ใช้ 105.263 ก้อน | 764.209 | 5 % | 802.419 | ก้อน | |||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานฉาบผนัง - กำแพง ตรง | ||||
![]() |
||||
พื้นที่ผนัง กำแพง
= (กว้าง x ยาว)
พื้นที่ขอบเสา ขอบกำแพง ที่มีความกว้าง ≤ 30 ซม. ให้คิดรวมในงานฉาบทั่วไป ปูนฉาบทั่วไปหนา ≤ 2 ซม. ในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ใช้ cement 8 กก. ทราย 0.02 ลบ.ม. ปูนขาว 0.01 ลบ.ม. |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | พื้นที่ผนัง เมื่อต้องฉาบปูน 2 ด้าน หนา 1.5 ซม. | ||||||||
= 2 x [ความยาว x ความสูง] | |||||||||
ความยาว คิดระหว่างขอบเสาถึงขอบเสา | |||||||||
ความสูง คิดจากหลังคานถึงท้องคาน | |||||||||
พื้นที่ = 2 x [3.30 x 2.20] | 14.52 | 5 % | 15.246 | ตารางเมตร | 37 | 44 | 81 | 1234.93 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานมุงหลังคา | ||||
|
||||
พื้นที่หลังคา =
ความกว้างตามความลาดเอียง x ความยาว ไม่ต้องหักพื้นที่ส่วนที่อยู่ใต้ตะเข้ราง ตะเข้สัน ครอบมุม ไม่ต้องคิดส่วนที่กระเบื้องต้องทาบกัน หรือ ส่วนที่เป็นลูกฟูก |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | พื้นที่หลังคา 1 ด้าน = 4.712 x 9 | 42.408 | - | 42.408 | ตารางเมตร | - | 20 | 20 | 848.16 |
มุงด้วย ลูกฟูก ลอนคู่ สังกะสี | |||||||||
2 | วัสดุมุง ลอนคู่ ขนาด 50 x 120 x 0.5 ซม. | - | |||||||
2.326 แผ่น ต่อ ตารางเมตร | 98.641 | 5 % | 103.545 | แผ่น | |||||
ค่าวัสดุ 48 บาท ต่อ แผ่น = 48 x 2.326 | 111.65 | - | 111.65 | 4734.85 | |||||
3 | ครอบหลังคา คิดตามความยาวสันหลังคา | ||||||||
แผ่นละ 70 บาท x 10 แผ่น | 700 | ||||||||
4 | ตะขอยึด 2 ตัวๆละ 5 บาท ต่อกระเบื้อง 1 แผ่น | 197.282 | 5 % | 207.15 | ตัว | 5 บาท / ตัว | 1035.75 | ||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานโครงหลังคา | ||||
|
|
|
|
|
ประกอบด้วย - แป / จันทันเอก / จันทันพราง / อกไก่ /
ดั้ง / ค้ำยัน / แผ่นเหล็กรองหัวเสา / tie rod
หรือ เหล็กยึดโครงหลังคา ให้ดูจากแบบ |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | จันทันเหล็กรูปพรรณ [ 100 x 50 x 3.2 mm | ||||||||
จำนวนที่ใช้ทั้งหมด 8 ท่อนๆละ 6 ม. | 8 | - | 8 | ท่อน | 556.50 | - | 556.50 | 4452 | |
2 | แปเหล็ก [ 75 x 75 x 2.3 mm | ||||||||
จำนวน = [ 1 + ( ความยาวตามลาด / spacing)] | |||||||||
= [ 1 + (4.7 / 1)] = 6 ตัวๆละ 6 ม. | 6 | - | 6 | ท่อน | 461 | - | 461 | 2766 | |
3 | อกไก่ [ 100 x 50 x 3.2 mm | ||||||||
จำนวนที่ใช้ทั้งหมด 3 ท่อนๆละ 6 ม. | 3 | - | 3 | ท่อน | 556.50 | 556.50 | 1669.50 | ||
4 | ค่าแรงติดตั้งโครงสร้างเหล็กคิดตามพื้นที่หลังคา | ||||||||
พื้นที่หลังคา 1 ด้าน = 4.712 x 9 | 42.408 | - | 42.408 | ตารางเมตร | - | 170 | 170 | 7209.36 | |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานระบบท่อ และ สุขภัณฑ์ | ||||
![]() |
||||
ท่อทุกชนิดวัดเป็น เมตร
ความแนวศูนย์กลาง รวมข้อต่อ ข้องอ |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ส้วมชักโครก | ชุด | 310 | ||||||
2 | ส้วมนั่งยอง | ที่ | 108 | ||||||
3 | ที่ปัสสาวะชาย หญิง | ชุด | 310 | ||||||
4 | อ่างล้างหน้า | ชุด | 310 | ||||||
5 | ฝักบัว | ชุด | 111 | ||||||
6 | ที่ใส่ม้วนกระดาษฝังผนัง | อัน | 107 | ||||||
7 | ที่ใส่สบู่ฝังผนัง | อัน | 107 | ||||||
8 | ชั้นวางของ | อัน | 60 | ||||||
9 | กระจกเงา | บาน | 41 | ||||||
10 | ค่าแรงเดินท่อน้ำดี น้ำเสีย ต่อจุด outlet | ≥ 10 จุด | 558 | ||||||
≤ 10 จุด | 774 | ||||||||
11 | บ่อเกรอะ บ่อซึม | จุด |
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานประตู หน้าต่าง | ||||
วัดเป็นบาน ตามขนาดมาตรฐาน ต้องระบุชนิดของวัสดุที่ใช้ทำ |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ติดตั้งวงกบประตู | ตารางเมตร | 32 | ||||||
2 | ติดตั้งวงกบหน้าต่าง | ตารางเมตร | 46 | ||||||
3 | ปรับและติดตั้งประตูพร้อมอุปกรณ์ | ตารางเมตร | 87 | ||||||
4 | ปรับและติดตั้งบานหน้าต่างพร้อมอุปกรณ์ | ตารางเมตร | 108 | ||||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานกระจก | ||||
พื้นที่กระจกไม่ต้องคิดส่วนที่ถูกทับอยู่ใต้กรอบ = กว้าง x ยาว ตารางเมตร |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปริมาตรกระจก | ลบ.ฟ. | 8 | ||||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานทาสี | ||||
พื้นที่งานทาสี
= กว้าง x ยาว ตารางเมตร พื้นที่กว้าง ≤ 30 ซม. ไม่ต้องแยกคิดต่างหาก แต่ให้รวมอยู่ในพื้นที่หลัก |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | พื้นที่ทาสี = กว้าง x ยาว | 150 | - | 150 | ตารางเมตร | ||||
2 | ทาสีน้ำมัน | ตารางเมตร | 35 | 39 | 74 | 11,100 | |||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานปูกระเบื้อง | ||||
พื้นที่ปูกระเบื้อง
= กว้าง x ยาว
ตารางเมตร พื้นที่กว้าง ≤ 30 ซม. ไม่ต้องแยกคิดต่างหาก แต่ให้รวมอยู่ในพื้นที่หลัก |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | ปูนทรายรองพื้น = 4.5 x 3.5 = | 15.75 | - | 15.75 | ตารางเมตร | 71 | 29 | 100 | 1575 |
2 | พื้นปูกระเบื้องเคลือบขาว 4" x 4" | 15.75 | - | 15.75 | ตารางเมตร | 229 | 118 | 347 | 5465.25 |
3 | จำนวนกระเบื้อง = พื้นที่ห้อง / พื้นที่กระเบื้อง 1 แผ่น |
||||||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
พื้นที่ฝ้าเพดาน | ||||
พื้นที่ =
กว้าง x ยาว ตารางเมตร
ไม่ต้องพิจารณาส่วนที่ทาบ หรือ ส่วนที่เป็นลูกฟูก |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | เพดานกระเบื้องแผ่นเรียบหนา 6 มม. | ||||||||
คร่าวไม้ยาง 60 x 60 ซม. | 42 | - | 42 | ตารางเมตร | 283 | 68 | 351 | 14742 | |
2 | จำนวนแผ่นฝ้า | ||||||||
= พื้นที่ฝ้า / พื้นที่กระเบื้อง 1 แผ่น | |||||||||
3 | จำนวนท่อนไม้คร่าวที่ยาวท่อนละ 60 ซม. | ||||||||
= [ 1 + ( ความกว้างหรือความยาวห้อง / 0.60)] | |||||||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
งานไฟฟ้า | ||||
คิดเป็นจุด และ คิดเป็นชุด |
ตัวอย่าง |
ที่ |
รายการ |
ปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้าง | ราคาต่อหน่วย (บาท) Price lists & Wages | จำนวนเงินรวม | |||||
net | waste | รวม | หน่วย | ค่าวัสดุ price | ค่าแรง wages | รวม |
บาท |
||
1 | Breaker | 2 | - | ชุด | |||||
2 | จำนวนดวงโคม + เดินสาย + สวิทช์ | ชุด | 310 | ||||||
3 | เต้าเสียบ + เดินสาย | จุด | 310 | ||||||
net หรือ net in place เป็นปริมาณงานที่ปรากฏตามแบบและรายการก่อสร้าง ไม่มีการเผื่อในทุกกรณี waste
เป็นปริมาณงานที่เผื่อไว้สำหรับการสูญเสียขณะทำงาน เช่น
การตัดเหล็กให้ได้ความยาวที่ต้องการจะต้องมีบางส่วนทิ้งไป หรือ
การฉาบปูนตกหล่นจากผนัง เป็นต้น ราคาต่อหน่วยมาจากหลายแหล่ง สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม และ การตัดสินใจของผู้ทำการประมาณราคา
ตัวเลขที่ปรากฏเป็นตัวเลขคร่าวๆเพื่อใช้ประกอบตัวอย่างขั้นตอนการคำนวณ จำนวนเงินรวม = ปริมาณงานรวม x ราคาต่อหน่วยรวม |
ปรับปรุงแก้ไข จันทร์, 26 ธันวาคม 2548 15:43:10