ผู้ตรวจการก่อสร้าง และ ต่อต้านการทุจริตเชิงป้องกัน (ผตป.)
Independent Inspector Alliance for Construction & Anti - Corruption Preventive Approach (IACONPA)
ที่ปรึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธา ชลประทาน การก่อสร้าง งานวิจัย และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี www.shutterfly.com

Introduction to Cost Estimating for Civil Work
ข่าวการประกวดราคา และ Unit Cost ที่ใช้บ่อย

ค่าแรงงานของงานบางประเภทที่ไม่ได้กำหนดไว้ในบัญชีค่าแรงงานฯ ของสำนักงบประมาณ 
ให้ผู้ถอดแบบคำนวณราคากลางกำหนดเองตามความเหมาะสมกับลักษณะงานและราคาค่าแรงงานในท้องถิ่นนั้น

ในกรณีที่ไม่ทราบว่าจะคิดค่าแรงงานเท่าใด  สำนักงบประมาณแนะนำให้คิดเหมารวมในอัตรา  30% - 37% ของยอดค่าวัสดุ

การคิดค่าดำเนินการ ดอกเบี้ย และ กำไร  ให้ใช้ตาราง Factor F หรืออาจใช้ค่าโดยประมาณระหว่าง 20 % - 30 % ของผลรวมของค่าวัสดุและค่าแรง
แต่ถ้าเป็นงานของทางราชการจะต้องไม่เกิน Factor F ที่กำหนดให้

การคิดภาษี  ให้ใช้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ทางราชการกำหนดขึ้นในปีนั้นๆ โดยไปคูณกับ ผมรวมของค่าวัสดุ + ค่าแรง + ค่าดำเนินการ + ดอกเบี้ย + กำไร
แต่ในบางกรณีใน  Factor F  ได้รวมเอาภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ด้วยแล้ว

ดังนั้น  ราคาค่าก่อสร้างทั้งหมด = (ค่าวัสดุ) + (ค่าแรง) + (ค่าดำเนินการ + ดอกเบี้ย + กำไร) + (ภาษีมูลค่าเพิ่ม)

หรือ  = [ ค่าวัสดุ + ค่าแรง ] x Factor F   = ราคากลาง หรือ Median Price หรือ Fair Price ถ้าคิดโดยเจ้าของงาน หรือ เป็นราคายื่นซองประกวดราคาถ้าคิดโดยผู้รับเหมา


ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงานต่อวัน

ประสิทธิภาพการทำงาน หมายถึง ปริมาณงานที่คนงาน 1 คนสามารถทำได้ใน 8 ชั่วโมง ต่อ วัน หรือ 1 วันทำงาน หรือ 1 แรง
งานบางอย่างไม่สามารถทำได้เพียงคนเดียว เช่น งานตอกเข็ม งานเทคอนกรีต ฯลฯ ต้องคิดเป็นกลุ่มคนงาน หรือ Crew

ประโยชน์ของการทราบประสิทธิภาพการทำงาน คือ ช่วยให้ทราบ ระยะเวลา และ ราคาค่าใช้จ่าย  ในการทำงานชนิดนั้นๆ  เช่น

ตัวอย่างการหาราคาต่อหน่วยโดยอาศัยข้อมูลจากสถิติประสิทธิภาพการทำงาน เช่น

  1. จากสถิติประสิทธิภาพการทำงาน        ช่างปูน 1 คน + กรรมกร 3 คน ช่วยกันเทพื้นคอนกรีตหนา 10 ซม. ได้ 20 ตารางเมตรต่อวัน
                                                      หรือ 
    =   0.10 ม. × 20  ตร.ม.                      =       2   ลบ.ม. ต่อ วัน
                                                      ถ้ามีปริมาณงาน 10 ลบ.ม. จะต้องใช้เวลา        =       10 / 2  วัน

     

  2. ถ้า                                              ช่างปูนได้ค่าแรง 300 บาท / คน / วัน  และ กรรมกรได้ค่าแรง 200 บาท / คน / วัน
                                                      ดังนั้น ค่าแรงทั้งหมดต่อวัน
                               =   ( 1 × 300 ) + ( 3 × 200 ) =   900   บาท / วัน
                                                      ถ้าต้องทำงาน 5 วัน ต้องใช้เงินค่าแรง            =    900
    × 5  =  4500 บาท
     

  3. ดังนั้น                                          ค่าแรงต่อหน่วย  Unit cost      =   900 บาท ต่อ วัน / 2 ลบ.ม. ต่อ วัน =   450   บาท / ลบ.ม.


ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน

ce003005

ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงานดินและการเคลื่อนย้ายวัสดุ  ce003006 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน ตอกเข็ม  
ce003007 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน  คอนกรีต ce003008 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน  ไม้
ce003009 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน  เหล็ก ce003010 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน  สี
ce003011 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน  ประปา ce003012 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน ไฟฟ้า
ce003013 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน กระจก อลูมิเนียม ce003014 ตารางแสดงประสิทธิภาพการทำงาน อื่นๆ
ce003002 ตัวอย่างการยื่นซองประกวดราคาของศิริดาก่อสร้าง ce003004 ประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักรกลงานดิน
ce003003 ราคาต่อหน่วย ค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ตามมาตรฐานสำนักงบประมาณ 2548  
       
ข้อมูลทางด้านราคาวัสดุ ค่าแรง จากหน่วยงานช่างอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บัญชีอัตราราคางานต่อหน่วย เมษายน 2553 - จำนวน 60 หน้า - งานบ่อน้ำบาดาล + งานปลูกป่า + งานพัฒนาการเกษตรที่สูง + งานวิทยาการธรณี + งานก่อสร้าง +
+
งานบำรุงรักษา + งานสำรวจทำแผนที่ภูมิประเทศและงานรังวัดเพื่อการชลประทาน + งานออกแบบคันคูน้ำ + งานสำรวจรังวัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ +
งานรังวัดเพื่อการชลประทานและและออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง + 
งานสำรวจรังวัดสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม + งานราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์
+
งานวางแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน + งานส่งเสริมและพัฒนาสถาบันครอบครัวฯ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
บัญชีอัตราราคางานต่อหน่วย มีนาคม 2552 หลักเกณฑ์และวิธีการคิดค่าวัสดุและค่าแรงงานประเภทต่างๆ กรมบัญชีกลาง
ราคาวัสดุก่อสร้าง กระทรวงพาณิชย์ ระบบการจัดซื้อ จัดจ้าง ภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
ถามตอบค่า K , ที่มา และ วิธีการใช้ สูตรหาค่า K งานต่างๆจำนวน 35 สูตร
ตัวอย่างการใช้ factor f ร่วมกับเงินกู้ บัญชีอัตราราคางานต่อหน่วย มิ.ย. 2548
บัญชีอัตราราคางานต่อหน่วย มิ.ย. 48 - ตุลาคม 2549 บัญชีอัตราราคางานต่อหน่วย เมษายน 2550
บัญชีอัตราราคางานต่อหน่วย เมษายน 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม บัญชีอัตราราคางานต่อหน่วย เมษายน 2551
       

แนวทางการวัดปริมาณงานก่อสร้างอาคารตามมาตรฐาน วสท. และ ตัวอย่างการประมาณราคาเบื้องต้นพร้อมรายละเอียดต่อหน่วย
ce003015 หมวด 01 งานทั่วไป ce003016 หมวด 02 งานสนาม และ งานเสาเข็ม
ce003017 หมวด 03 งานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ce003018 หมวด 04 งานก่อและงานฉาบ
ce003019 หมวด 05 งานโครงสร้างเหล็กและโลหะอื่นๆ ce003020 หมวด 06 งานโครงสร้างไม้
ce003021 หมวด 07 งานป้องกันน้ำ อุณหภูมิ และ ความชื้น ce003022 หมวด 08 งานประตู หน้าต่าง และ งานผนังรอบ ( curtain wall )
ce003023 หมวด 09 งานตกแต่งผนัง พื้น และ งานฝ้าเพดาน    
       
ce003024 วิธีการประมาณราคาเบื้องต้นพร้อมภาพประกอบและรายละเอียดต่อหน่วย
1 วิธีการประมาณราคา 2 องค์ประกอบของราคางานก่อสร้าง  
3 ชนิดของปริมาณวัสดุที่ปรากฏในการประมาณราคา 4 ข้อสังเกตเบื้องต้น
5 จะรู้ราคาวัสดุและค่าแรงเบื้องต้นจากที่ใด 6 สาเหตุที่ทำให้ราคาวัสดุแพงกว่าธรรมดา
7 ข้อสังเกตเกี่ยวกับค่าแรง 8 ประเภทของแบบที่ใช้ในงานก่อสร้างโดยทั่วไป มี 3 แบบ คือ
9 ตัวอย่างการหาราคาต่อหน่วยโดยอาศัยข้อมูลจากสถิติประสิทธิภาพการทำงาน 10 ไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้าง
11 การประมาณราคางานคอนกรีต 12 เหล็กเสริมคอนกรีต
13 แบบหล่อคอนกรีตที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป 14 การประมาณราคางานตอกเข็ม
15 ผนัง หรือ วัสดุก่อ 16 วัสดุมุงหลังคา
17 สีทาอาคารชนิดสีน้ำ 18 การประมาณราคาฝ้าเพดาน
19 แผ่นปูพื้นซีเมนต์ของ CPAC    
       
  วิธีการวัดปริมาณงานตามมาตรฐาน วสท และ ตัวอย่างการคำนวณตามมาตรฐาน วสท
(E.I.T. Standard 1012 - 40 , ISBN 974 - 90756 -3 - 3)
24
  งานขุดดินที่ต้องใช้เข็มพืดเหล็ก   งานขุดร่องดินเพื่อวางท่อ 1 แนว   งานกำแพงเข็มพืดคอนกรีต  งานตกแต่งพื้นผิวที่มีความลาดชัน => 1:10
  ค่ารื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ  ค่าวัสดุถมที่  งานถมและงานกลบแต่ง   ค่าเตรียมพื้นที่  ค่าถมดินหรือทรายเพื่อปรับระดับ  งานเสาเข็มเจาะ 
  งานตอกเข็ม  งานตัดหัวเสาเข็ม  งานเหล็กเสริมฐานราก  งานคอนกรีตฐานราก   งานคอนกรีตรองพื้นหลุมฐานราก  งานแบบหล่อฐานราก  งานเหล็กเสริมตอม่อ
  งานคอนกรีตเสาตอม่อ  งานแบบหล่อคาน  งานเหล็กปลอกในคาน และ เสา   งานคอนกรีตคาน  งานเหล็กเสริมคาน และ เสา  งานคอนกรีตเสา คสล.
  งานคอนกรีตพื้น คสล ที่วางบนพื้น  งานเหล็กเสริมพื้น ในระบบพื้น - คาน    งานแบบหล่อคอนกรีตพื้น  งานคอนกรีตพื้น คสล.  แผ่นพื้นไร้คานที่มีแป้นหัวเสา
  งานคอนกรีตกำแพง คสล   งานเหล็กเสริมกำแพงคอนกรีต  งานก่อผนัง - กำแพง ตรง   งานไม้แบบกำแพง คสล   งานเหล็กเสริม งานคอนกรีต และ งานไม้แบบ บันได
  งานมุงหลังคา  งานระบบท่อ และ สุขภัณฑ์  งานกระจก  งานปูกระเบื้อง   งานประตู หน้าต่าง  งานทาสี  พื้นที่ฝ้าเพดาน  งานขุดดินฐานราก
  งานไฟฟ้า  งานฉาบผนัง - กำแพง ตรง  งานโครงหลังคา    
       

ตัวอย่างตารางการคำนวณ EXCEL การประมาณราคางานก่อสร้างที่พบเห็นโดยทั่วไป  150 basic est cal table.rar
est01 การขุดหลุมฐานรากและวัสดุรองพื้น est02  PILE CAP est03  ตอม่อ est04  คานคอนกรีตเสริมเหล็ก
est05 เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก est06  ผนังอิฐก่อ คอนกรีตบล็อก est07  พื้นวางบนดิน est08  พื้นสำเร็จรูป
est09  บันไดพับผ้า est10  บันไดท้องเรียบ est11  หลังคา MONIER est12  กระเบื้องลอนฯ
est13  ฝ้าเพดาน est14  ทาสี est15  ใบสรุปราคา  
               




rangsonw@gmail.com www.facebook.com/rangsonw  ; www.twitter.com/rangsonw
 

ปรับปรุงแก้ไข พฤหัสบดี, 11 กุมภาพันธ์ 2559 19:07:48